วันจันทร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556

แผนเผชิญเหตุเมื่อเกิดปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2553 สำนักอนามัย



แผนเผชิญเหตุเมื่อเกิดปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2553
สำนักอนามัย
กิจกรรม รายละเอียดการปฏิบัติ หน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบ
ก่อนน้ำท่วม 1 จัดเตรียมเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ ในการดำเนินงานป้องกันโรค   กองควบคุมโรคติดต่อ
  และภัยที่เกิดจากน้ำท่วม   ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ
  2 จัดทำข่าวประชาสัมพันธ์ต่อสื่อมวลชนเพื่อเตือนให้ประชาชน   โทร.  0  2245  8005
  ระวังโรคและภัยที่เกิดจากน้ำท่วม    
  3 จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการป้องกันโรคและภัยที่เกิดจากน้ำท่วม  
"
  เพื่อเป็นหน่วยงานกลาง เบิก - จ่าย  เวชภัณฑ์น้ำท่วมและวัสดุ    
  อุปกรณ์ที่จำเป็นให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง    
  4 จัดเตรียมเอกสารการป้องกันโรคและภัยที่เกิดจากน้ำท่วม   
"
  เพื่อแจกจ่ายให้กับทุกหน่วยงาน เช่น ศูนย์บริการสาธารณสุข    
  โรงพยาบาล และสำนักงานเขตทุกเขต  เพื่อประชาสัมพันธ์ให้    
  ประชาชนรู้ถึงวิธีป้องกันโรคและภัยที่เกิดจากน้ำท่วม    
  5 จัดเตรียมเซรุ่มแก้พิษงู ให้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข ที่อยู่ใน  
"
  พื้นที่รอบนอก    
  6 จัดเตรียมเวชภัณฑ์ป้องกันโรคน้ำกัดเท้าเพื่อสนับสนุนให้  
"
  ผู้บริหารและหน่วยงานต่าง ๆ  ที่เกี่ยวข้อง    
  7 เฝ้าระวังโรคที่เกิดจากน้ำท่วมโดยมีบันทึกแจ้งเตือนศูนย์บริการ -  
"
  สาธารณสุข และโรงพยาบาลทุกแห่งให้เฝ้าระวังโรคที่เกิดจาก    
  น้ำท่วมเป็นพิเศษเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคและ    
  สามารถควบคุมโรคให้สงบโดยเร็วพร้อมทั้งให้รายงานตามแบบ    
  ฟอร์มที่กำหนด  รวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์สถานการณ์และ    
  ความชุกของการเกิดโรคเสนอผู้บริหาร  เพื่อกำหนดนโยบาย    
  และแนวทางการบริหารจัดการแก้ปัญหาต่อไป    
  8 จัดเตรียมหน่วยบริการสาธารณสุขเคลื่อนที่ปฏิบัติงานช่วยเหลือ  
"
  ประชาชนที่ประสบภาวะน้ำท่วมเสริมกรณีศูนย์บริการ -    
    สาธารณสุข  มีหน่วยฯ  ไม่เพียงพอ    
  1 จัดเตรียมและผลิตเวชภัณฑ์สำหรับใช้ในกิจกรรมป้องกันโรค   กองเภสัชกรรม
  และภัยที่เกิดจากน้ำท่วม ได้แก่  วิทฟิวส์  ป้องกันโรคน้ำกัดเท้า   ผู้อำนวยการกองเภสัชกรรม
   ยาใส่แผล  ผงเกลือแร่  ยาแก้ปวดลดไข้ ฯลฯ   โทร. 0  2580  9881
     
         
  1 จัดเตรียมรถหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เพื่อช่วยเหลือประชาชนใน   กองสร้างเสริมสุขภาพ
  พื้นที่ที่ประสบภาวะน้ำท่วม   ผู้อำนวยการกองสร้างเสริม
    สุขภาพ
    โทร. 0  2247  6024
         
  1 สำรวจพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขัง  เพื่อดำเนินการช่วยเหลือและเฝ้าระวัง   ศูนย์บริการสาธารณสุข 
  ป้องกันควบคุมโรคที่อาจเกิดขึ้นในภาวะดังกล่าว   68 แห่ง  (ศูนย์ประสานงานกลุ่มที่ 1 - 6) 
  2 จัดเตรียมหน่วยแพทย์เคลื่อนที่และหน่วยสาธารณสุข เคลื่อนที่   ศูนย์ประสานงานกลุ่มที่ 1
  ปฎิบัติงานช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภาวะน้ำท่วม โดยมี    - กลุ่มที่ 1.1 ผู้อำนวยการ
  กองสร้างเสริมสุขภาพ  และกองควบคุมโรคติดต่อ   ศูนย์บริการสาธารณสุข 23
  เป็นหน่วยงานเสริม   สี่พระยา
    โทร.  0  2233 6329
     - กลุ่มที่ 1.2 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 9
    ประชาธิปไตย
    โทร. 0 2282 8494
    ศูนย์ประสานงานกลุ่มที่ 2
     - กลุ่มที่ 2.1 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 41
    คลองเตย
    โทร. 0 2240 2056
     - กลุ่มที่ 2.2 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 21
    วัดธาตุทอง
    โทร. 0 2391 6082
    ศูนย์ประสานงานกลุ่มที่ 3
     - กลุ่มที่ 3.1 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 44
    ลำผักชี
        โทร. 0 2988 1633
     - กลุ่มที่ 3.2 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 4
    ดินแดง
    โทร. 0 2-2484955
    ศูนย์ประสานงานกลุ่มที่ 4
     - กลุ่มที่ 4.1 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 61
    สังวาลย์ทัศนารมย์
    โทร. 0 2536 0163
     - กลุ่มที่ 4.2 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 19
    วงศ์สว่าง
    โทร. 0 2910 7314 - 5
    ศูนย์ประสานงานกลุ่มที่ 5
     - กลุ่มที่ 5.1 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 40
    บางแค โทร. 0 2454 7070
     - กลุ่มที่ 5.2 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 33
    วัดหงส์รัตนาราม
    โทร. 0 2472 5895
    ศูนย์ประสานงานกลุ่มที่ 6
     - กลุ่มที่ 6.1 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 29
    ช่วงนุชเนตร
    โทร. 0 2476 6493
     - กลุ่มที่ 6.2 ผู้อำนวยการ
    ศูนย์บริการสาธารณสุข 42
    ถนอมทองสิมา
        โทร. 0 2415 2052
ขณะน้ำท่วม 1 จัดจ่ายเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์  และสื่อประชาสัมพันธ์ ดังนี้   กองควบคุมโรคติดต่อ
   - วันราชการ เวลา 08.30  -  16.30  น.      ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ
  นอกเวลาราชการ เวลา 16.30  -  20.30 น.   โทร.  0  2245  8005
  ณ  ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันโรคและภัยที่เกิดจากน้ำท่วม    
  กองควบคุมโรคติดต่อ  สำนักอนามัย    
  2 เฝ้าระวังและรายงานผลการปฏิบัติงานให้ผู้บริหารทราบ   กองควบคุมโรคติดต่อ
  กรณีพบว่ามีโรคระบาด เช่น โรคตาแดง  โรคเลปโตสไปโรซิส    
  โรคอุจจาระร่วง ฯลฯ  ทีม  SRRT  จะออกดำเนินการสอบสวนโรค    
  เพื่อควบคุมโรคให้สงบโดยเร็ว    
  3 จัดหน่วยบริการสาธารณสุข เคลื่อนที่ปฏิบัติงานช่วยเหลือ  
"
  ประชาชนที่ประสบภาวะน้ำท่วมเสริมกรณีศูนย์บริการ -    
  สาธารณสุข  มีหน่วยฯ  ไม่เพียงพอ    
  4 ทำแผนปฏิบัติการกำจัดยุงภายหลังน้ำลด  
"
  5 จัดทีมพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก  
"
  เสริมการปฏิบัติการพ่นสารเคมีกำจัดยุงที่บ้าน    
  6 สรุปรวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานป้องกันโรคและภัยที่เกิด  
"
    จากน้ำท่วมเสนอผู้บริหาร    
  1 จัดหน่วยพ่นสารเคมีกำจัดยุงในชุมชน   สำนักงานเขต  50  เขต
        ฝ่ายสิ่งแวดล้อม และสุขาภิบาล
  1 ผลิตเวชภัณฑ์  เช่น  วิทฟิลด์ ป้องกันโรคน้ำกัดเท้ากรณีน้ำท่วม   กองเภสัชกรรม
  มากในภาวะฉุกเฉินที่องค์การเภสัชกรรมผลิตยาไม่ทัน   ผู้อำนวยการกองเภสัชกรรม
  2 จัดเตรียมและจัดจ่ายเวชภัณฑ์ป้องกันโรคที่เกิดจากน้ำท่วมให้กับ   โทร 0  2580  9881 
  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  เช่น  กองควบคุมโรคติดต่อ  ศูนย์บริการ -    
  สาธารณสุข    
  3 รายงานผลการจ่ายเวชภัณฑ์ไปยังกองควบคุมโรคติดต่อ  เพื่อ  
"
    กองควบคุมโรคติดต่อ  สรุปรายงานเสนอผู้บริหารต่อไป    
         
  1 จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ปฏิบัติงานช่วยเหลือประชาชนที่ประสบ   กองสร้างเสริมสุขภาพ
  ภาวะน้ำท่วม    
         
  2 รายงานผลการปฏิบัติงานเป็นรายวันส่งกองควบคุมโรคติดต่อ   ผู้อำนวยการกองสร้างเสริม
    สุขภาพ
        โทร.  0  2247  6024
  1 ออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่  และหน่วยบริการสาธารณสุข   ศูนย์บริการสาธารณสุข
  เคลื่อนที่ปฏิบัติงานช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภาวะน้ำท่วม   68  แห่ง  (ศูนย์ประสานงานกลุ่มที่ 1 -6)
  โดยมีกองสร้างเสริมสุขภาพและกองควบคุมโรคติดต่อ    
  เป็นหน่วยงานเสริม    
  2 ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์แจกเอกสารแผ่นพับ  แผ่นปลิว    
"
  เตือนประชาชนให้ระวังโรคระบาดในช่วงน้ำท่วม  เช่น  โรค    
  เลปโตสไปโรซิส    โรคตาแดง ฯลฯ    
  3 สำรวจพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขังที่คาดว่าจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของ  
"
  ยุงภายหลังน้ำลด    
  4 เฝ้าระวังโรคและภัยที่เกิดจากน้ำท่วม  เพื่อลดการแพร่ระบาดของ  
"
  โรคขณะน้ำท่วม    
  5 รายงานผลการปฏิบัติงานส่งกองควบคุมโรคติดต่อ  
"
         
หลังน้ำลด 1 สัปดาห์ที่  1 - 2  ดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดลูกน้ำยุงลายและ   สำนักงานเขต 50 เขต
  ยุงรำคาญในพื้นที่ที่มีแหล่งน้ำท่วมขังตามแผนปฏิบัติการและ   ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
  ดำเนินการซ้ำในสัปดาห์ที่  3 - 4  ซึ่งห่างจากครั้งแรก  2 สัปดาห์    
         
  1 สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการป้องกันโรค   กองควบคุมโรคติดต่อ
  และภัยที่เกิดจากน้ำท่วมเสนอผู้บริหาร   ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ
  2 เฝ้าระวังโรคที่อาจจะเกิดขึ้นภายหลังน้ำลดเพื่อป้องกันควบคุมโรค   โทร.  0  2245  8005
    ให้อยู่ในภาวะปกติต่อไป    
  1 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขัง   ศูนย์บริการสาธารณสุข
  2 เฝ้าระวังโรคที่อาจจะเกิดขึ้นภายหลังน้ำลดเพื่อป้องกันควบคุมโรค   68  แห่ง  (ศูนย์ประสานงานกลุ่มที่ 1 -6)
  ให้อยู่ในภาวะปกติ    
  3 รายงานผลการปฏิบัติงานให้กองควบคุมโรคติดต่อ  เพื่อสรุป   
"
    รวบรวมนำเสนอผู้บริหาร    

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น