วันพุธที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2555

รายงานฉบับสมบูรณ์คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.)กรกฎาคม ๒๕๕๓ – กรกฎาคม ๒๕๕๕


ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดรายงานฉบับเต็มได้ที่นี่

รายงานฉบับสมบูรณ์
คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริง
เพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.)
กรกฎาคม ๒๕๕๓ – กรกฎาคม ๒๕๕๕
สารบัญ
คานา ๗
ส่วนที่ ๑ บทนา ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับคณะกรรมการ ๘
๑.๑ การก่อตั้ง คอป. ๘
๑.๑.๑ ที่มาและความสาคัญในการก่อตั้ง ๘
๑.๑.๒ การแต่งตั้งกรรมการ ๘
๑.๑.๓ อานาจหน้าที่ ๑๐
๑.๑.๔ หลักการ ปรัชญา แนวคิดและยุทธศาสตร์การดาเนินงาน ๑๐
๑.๑.๕ การตั้งคณะที่ปรึกษา ๑๔
๑.๒ การบริหารจัดการ ๑๕
๑.๒.๑ บุคลากร ๑๕
๑.๒.๒ งบประมาณ ๑๖
๑.๒.๓ ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการ ๑๗
๑.๓ ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ๑๘
๑.๓.๑ หน่วยงานภายในประเทศ ๑๘
๑.๓.๒ ความร่วมมือกับต่างประเทศ ๑๙
๑.๔ กิจกรรมหลักของคณะกรรมการ ๒๓
๑.๔.๑ กิจกรรมของ คอป. ๒๓
(๑) การจัดเวทีเสวนา ๒๓
(๒) การประชุม ๒๓
(๓) การจัดทารายงานความคืบหน้า คอป. ๒๓
(๔) การจัดทาข้อเสนอแนะต่อนายกรัฐมนตรีและสาธารณชน ๒๔
(๕) โครงการสารวจและบันทึกคาบอกเล่าผู้ได้รับผลกระทบจาก ๒๘
เหตุการณ์ความไม่สงบและความรุนแรงในประเทศไทย
(Statement Taking)
๑.๔.๒ กิจกรรมของคณะอนุกรรมการ ๓๐
(๑) คณะอนุกรรมการตรวจสอบและค้นหาความจริง ๓๐
๑. การประชุม ๓๑
๒. การจัดทาโครงการต่างๆ เพื่อสนับสนุนงานของคณะอนุกรรมการ ๓๑
๓. การจัดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ๓๒
(๒) คณะอนุกรรมการเยียวยา ฟื้นฟู และป้องกันความรุนแรง ๓๒
๑. การประชุม ๓๓
๒. ดาเนินการช่วยเหลือ ฟื้นฟู เหยื่อ ๓๓
๓. การจัดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ๓๓
๔. ประสานหน่วยงานภาครัฐ และพบผู้นาทางศาสนา ๓๔
๕. การลงพื้นที่ช่วยเหลือเยียวยาผู้ถูกคุมขังร่วมกับกรมสุขภาพจิต ๓๔ ๓
๖. การจัดทาโครงการ/กิจกรรม เพื่อสนับสนุนการเยียวยา ๓๔
และฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบ
๗. การจัดตั้งศูนย์ประสานงานเยียวยาและฟื้นฟูผู้ได้รับ ๓๕
ผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรง
(๓) คณะอนุกรรมการด้านการศึกษาวิจัยและกิจกรรมทางวิชาการ ๓๖
๑. การประชุม ๓๖
๒. การประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากสาธารณะ ๓๗
๓. การจัดเวทีสาธารณะเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ในงานวิจัย ๓๘
(๔) คณะอนุกรรมการด้านยุทธศาสตร์เพื่อความปรองดอง ๔๐
๑. การประชุม ๔๐
๒. การเปิดพื้นที่ในการสร้างความปรองดอง ๔๐
๓. การสื่อสารสาธารณะ ๔๒
๔. การเข้าพบ และการมาเยือนของ H.E. Mr. Kofi Annan ๔๓
อดีตเลขาธิการสหประชาชาติ และ H.E. Mr. Martti
Ahtisaari อดีตประธานาธิบดีฟินแลนด์
ส่วนที่ ๒ สรุปเหตุการณ์ความรุนแรงและการละเมิดสิทธิที่เกิดขึ้น ๔๔
๒.๑ บทนา ๔๔
๒.๑.๑ การดาเนินงานของคณะอนุกรรมการตรวจสอบและค้นหาความจริง ๔๔
๒.๑.๒ หลักการและแนวคิดในการตรวจสอบและค้นหาความจริง ๔๕
๒.๑.๓ กรอบแนวคิดการดาเนินการของคณะอนุกรรมการตรวจสอบ ๔๕
และค้นหาความจริง
๒.๑.๔ วิธีการดาเงินงานของคณะอนุกรรมการตรวจสอบและค้นหาความจริง ๔๖
๒.๑.๕ ปัญหาและอุปสรรคในการตรวจสอบและค้นหาความจริง ๕๑
๒.๒ ลาดับเหตุการณ์และสถานการณ์ทางการเมืองหลังประกาศใช้ ๕๓
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุธทศักราช ๒๕๔๐ และช่วงปี ๒๕๕๓
๒.๒
.๑ บริบททางการเมืองก่อนประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่ง ๕๓
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
๒.๒
.๒ บริบททางการเมืองระหว่างใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๕๓
พุทธศักราช ๒๕๔๐
๒.๒
.๓ การรัฐประหารวันที่ ๑๙ กันยายน พ.. ๒๕๔๙ ๕๙
๒.๒
.๔ บริบททางการเมืองระหว่างใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๖๑
พุทธศักราช ๒๕๕๐
๒.๒
.๕ เหตุการณ์ทางการเมืองและเหตุการณ์ความรุนแรงในปี พ.. ๒๕๕๒ ๖๓
๒.๒
.๖ เหตุการณ์ทางการเมืองที่สาคัญและเหตุการณ์ความรุนแรง ๖๗
ระหว่างเดือนมกราคม
-มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
๒.๒.๗ ลาดับเหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างเดือนเมษายน
-พฤษภาคม ๒๕๕๓ ๗๓ ๔
๒.๓ ข้อค้นพบเฉพาะกรณีในการตรวจสอบเหตุการณ์ความรุนแรงในช่วง ๙๐
เดือนเมษายน
-พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
๒.๓.๑ ความรุนแรงที่สถานีดาวเทียมไทยคม วันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ๙๑
๒.๓.๒ เหตุการณ์วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๓ ความรุนแรงในเหตุการณ์ ๙๔
สะพานมัฆวานรังสรรค์ สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า สี่แยกคอกวัว
หน้าโรงเรียนสตรีวิทยา และในสวนสัตว์ดุสิต
.๓.๓ วันที่ ๑๔ เมษายน นปช. ยุติการชุมนุมบนถนนราชดาเนิน ๑๑๓
และย้ายมาชุมนุมรวมกันที่สี่แยกราชประสงค์เพียงแห่งเดียว
และเริ่มเสริมที่มั่นการชุมนุมที่สี่แยกราชประสงค์
.๓.๔ วันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ความรุนแรงบริเวณอนุสรณ์สถานแห่งชาติ ๑๑๕
.๓.๕ วันที่ ๑๓ เมษายน -๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ความรุนแรงบริเวณ ๑๑๖
สี่แยกศาลาแดงก่อน ศอฉ
.ปิดล้อมพื้นที่ชุมนุม
๒.๓
.๖ ศอฉ.ใช้มาตรการปิดล้อมการชุมนุมของ นปช. และความรุนแรง ๑๑๙
ระหว่างมาตรการปิดล้อมช่วงวันที่ ๑๓ ถึง ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
.๓.๗ การเสียชีวิต พล..ขัตติยะ สวัสดิผล วันที่ ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑๒๐
.๓.๘. การชุมนุมย่อยและความรุนแรงในพื้นที่นอกแนวปิดล้อมของเจ้าหน้าที่ ๑๒๔
.๓.๙ ความรุนแรงบริเวณศาลาแดง สีลม สวนลุมพินี - ๑๒๕
ถนนพระรามที่ ๔
บ่อนไก่ - ถนนวิทยุ ช่วงปฏิบัติการปิดล้อม
วันที่ ๑๓
- ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
.๓.๑๐ เหตุการณ์บริเวณถนนราชปรารภ แยกสามเหลี่ยมดินแดง ๑๓๑
และอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิระหว่างวันที่ ๑๓ ถึง ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
.๓.๑๑ เหตุการณ์ความรุนแรงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑๔๒
.๓.๑๒ เหตุการณ์บริเวณวัดปทุมวนาราม วันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑๔๘
.๓.๑๓. การเผาสถานที่ในกรุงเทพมหานคร ๑๕๔
๒.๔
. พฤติการณ์ของคนชุดดาที่ใช้ความรุนแรงและอาวุธสงคราม โดยปรากฏตัว ๑๕๗
อยู่ในพื้นที่ชุมนุม
๒.๔
.๑ เหตุการณ์ความรุนแรงในวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๓ ๑๕๗
๒.๔
.๒ เหตุการณ์ความรุนแรงบริเวณถนนพระราม ๔ –บ่อนไก่ ๑๕๘
และถนนราชปรารภ
๒.๔
.๓ พบว่าเคยมีการปราศรัยบนเวทีในเดือนมกราคม ๒๕๕๓ เกี่ยวกับ ๑๖๐
“กองกาลังไม่ทราบฝ่าย”
๒.๕ ข้อค้นพบเกี่ยวกับพฤติการณ์การชุมนุมระหว่างเดือนมีนาคม ถึง พฤษภาคม ๑๖๑
พ.ศ. ๒๕๕๓
๒.๖
. การใช้กาลังและอาวุธในการควบคุมฝูงชนและการสลายการชุมนุม ๑๗๔
๒.๗ ข้อค้นพบเกี่ยวกับกรณีผู้สูญหาย การซ้อมทรมาน และการข่มขืน ๑๙๓ ๕
ส่วนที่ ๓ สาเหตุและรากเหง้าของปัญหา ๑๙๗
๓.๑ ที่มาและความสาคัญ ๑๙๗
๓.๒ วิธีการศึกษาวิจัยและแนวทางการดาเนินงาน ๑๙๗
๓.๓ การวิเคราะห์รากเหง้าของปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย ๑๙๙
๓.๓.๑ ระยะเริ่มแรกของความขัดแย้ง หรือระยะบ่มเพาะ ๒๐๐
ความขัดแย้ง (latent tension)
๓.๓.๒ ระยะความขัดแย้งปรากฏ (overt conflict
) ๒๐๓
๓.๓.๓ ระยะความขัดแย้งในระดับการช่วงชิงอานาจ (power struggle) ๒๐๗
และการเกิดความรุนแรง (violence)
๓.๔ สรุป ๒๑๖
ส่วนที่ ๔ เหยื่อ และการเยียวยาและฟื้นฟูเหยื่อ ๒๑๘
๔.๑ ทฤษฎี แนวคิดทางการดาเนินการ เยียวยา ฟื้นฟูและป้องกันความรุนแรง ๒๑๘
กรณีมีเหตุการณ์ ไม่สงบทางการเมือง
๔.๑.๑ นิยาม ความหมายของการชดเชย (Reparation) ๒๑๘
๔.๑.๒ ความสาคัญของการชดเชย ๒๑๘
๔.๑.๓ ลักษณะและประเภทของการชดเชย ๒๑๙
๔.๑.๔ บุคคลที่เข้าข่ายได้รับการชดเชย ๒๒๐
๔.๑.๕ ผู้ที่รับผิดชอบในการให้การชดเชย ๒๒๑
๔.๒ มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการกาหนดแนวทางและหลักเกณฑ์ ๒๒๒
การเยียวยาในต่างประเทศ
๔.๓ แนวทางและหลักเกณฑ์การเยียวยา ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรง ๒๒๒
๔.๓.๑ มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับกาหนดแนวทางและหลักเกณฑ์ ๒๒๓
การเยียวยาของประเทศไทย
๔.๓.๒ การเยียวยาความเสียหายในกรณีความรุนแรงทางการเมือง ๒๒๓
๔.๔ องค์กรและวิธีการเยียวยาสาหรับผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงทางการเมือง ๒๓๓
๔.๕ สรุปผลการรายงานและการติดตามความคืบหน้าการเยียวยาผู้ได้รับ ๒๓๔
ผลกระทบจากเหตุการณ์การชุมนุมทางการเมือง
ส่วนที่ ๕ ข้อเสนอแนะ ๒๓๙
๕.๑ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการนาข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ ๒๓๙
และรากเหง้าของความขัดแย้งมาเป็นบทเรียนในการสร้างความปรองดองที่ยั่งยืน
๕.๒ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการนาหลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านมาปรับใช้ ๒๔๒
๕.๓ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักนิติธรรมและกระบวนการยุติธรรม ๒๔๖
๕.๔ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความเป็นประชาธิปไตย หลักธรรมาภิบาล ๒๕๑
และการเคารพสิทธิมนุษยชน ในสังคมไทย
๕.๕ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาพื้นฐานของสังคมไทย ๒๕๓
๕.๖ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ๒๕๔
๕.๗ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒๕๕ ๖
๕.๘ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสื่อ ๒๕๘
๕.๙ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับทหาร ๒๖๑
๕.๑๐ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการชุมนุมและสิทธิผู้ชุมนุม ๒๖๒
๕.๑๑ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทและการคุ้มครองของหน่วยแพทย์ ๒๖๖
พยาบาล หน่วยบรรเทา สาธารณภัย ในการปฏิบัติงานด้านการช่วยเหลือ
ทางด้านมนุษยธรรมในสถานการณ์ความขัดแย้ง
๕.๑๒ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของสถาบันศาสนา ๒๖๗
๕.๑๓ ข้อเสนอแนะในการเผยแพร่รายงานฉบับสุดท้าย ๒๖๘
๕.๑๔ แนวทางการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ คอป. ๒๖๙
ภาคผนวก (Annexes)
คานา
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้กาหนดให้มีคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) โดยมีศาสตราจารย์ ดร. คณิต ณ นคร เป็นประธานกรรมการ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีก ๘ ท่าน เพื่อดาเนินการตรวจสอบและค้นหาความจริงที่เป็นรากเหง้าของปัญหาความขัดแย้งและเหตุการณ์ความรุนแรง โดยมีเป้าหมายที่จะให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน และการเยียวยาอันจะนาไปสู่การป้องกันมิให้เกิดเหตุความรุนแรงและความเสียหายอีกในอนาคต เพื่อส่งเสริมให้เกิดความปรองดองในประเทศไทยระยะยาวต่อไป โดยกาหนดระยะเวลาดาเนินการ ๒ ปี ตั้งแต่วันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๓ – ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ นั้น
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา คอป. ได้จัดให้มีกิจกรรมทางวิชาการ กระบวนการรับฟังข้อมูลและความเห็น ตลอดจนการลงพื้นที่ เพื่อสนับสนุนการตรวจสอบค้นหาความจริง การศึกษารากเหง้าของปัญหาความขัดแย้ง การเยียวยาและฟื้นฟู และการเสนอมาตรการเพื่อลดความขัดแย้งและส่งเสริมให้เกิดความปรองดองในประเทศ โดยเน้นการมีส่วนร่วมของสาธารณชน รวมทั้งได้จัดทารายงานความคืบหน้าของการทางานทุกรอบ ๖ เดือน เสนอต่อคณะรัฐมนตรีและสาธารณชน รวม ๓ ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ ๑ (๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๓ – ๑๖ มกราคม ๒๕๕๔) ครั้งที่ ๒ (๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ – ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๔) และครั้งที่ ๓ (กรกฎาคม ๒๕๕๔ – มีนาคม ๒๕๕๕) อันถือได้ว่าเป็นการเสนอผลการตรวจสอบ ผลการศึกษา และข้อเสนอแนะให้กับรัฐบาล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นาไปปฏิบัติ และเผยแพร่ให้สังคมได้รับทราบเป็นระยะ ๆ มาอย่างต่อเนื่อง
รายงานฉบับสมบูรณ์ของคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ฉบับนี้ เป็นบทสรุปการดาเนินงานของ คอป. ตลอดช่วงเวลาการทางานเมื่อครบ ๒ ปี ซึ่งจะมีเนื้อหาครอบคลุมภารกิจทั้งหมดตั้งแต่ข้อมูลเบื้องต้นของ คอป. งบประมาณ บุคลากร ความร่วมมือกับหน่วยงานในประเทศและต่างประเทศ การตรวจสอบและค้นหาความจริง การศึกษาวิจัยรากเหง้าของปัญหา การเยียวยาและฟื้นฟู รวมถึงข้อเสนอแนะอันเป็นแนวทางในการสร้างความปรองดองในชาติ โดยมีประเด็นสาคัญต่างๆ ทั้งระยะเร่งด่วน ระยะกลาง และระยะยาว
คอป. ขอขอบคุณทุกภาคส่วนที่ได้ให้ความสนใจติดตาม สนับสนุนการดาเนินการ และขยายแนวคิดของ คอป. ให้สังคมได้รับทราบตลอด ๒ ปีที่ผ่านมา งานตามภารกิจของ คอป. แม้จะสิ้นสุดลงตามกรอบเวลาที่กาหนดไว้ แต่การสร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นในชาติคงต้องใช้เวลาและการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรม คอป. หวังว่าข้อเท็จจริง ข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะที่ปรากฏในรายงานฉบับสมบูรณ์นี้ จะเป็นส่วนผลักดันที่สาคัญให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและสังคมได้เข้าใจบนข้อมูลเดียวกัน และร่วมมือร่วมใจกันคิด สานต่อให้เกิดความปรองดอง ของประเทศต่อไป
คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.)
กันยายน ๒๕๕๕



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น